วันพุธที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2559



บันทึกการเรียนครั้งที่  9
วัน อังคาร  ที่  4 ตุลาคม  2559 เวลา 08.30 - 12.30 น.
 
 
เนื้อหาที่เรียน 
  วันนี้ทำ cooking 



กิจกรรม


 
 

 

การนำไปประยุกต์ใช้
 - สามารถนำไปทำเองที่บ้านได้ค่ะ 
 - นำไปสอนเด็กๆ ได้คะ


การประเมิน

 


บันทึกการเรียนครั้งที่  8
วันอังคาร  ที่ 27 กันยายน 2559 เวลา 08.30 - 12.30 น.
 

สอบกลางภาค

 



บันทึกการเรียนครั้งที่  7
วันอังคาร  ที่  20 กันยายน 2559 เวลา 08.30 - 12.30 น.



เนื้อหาที่เรียน
  วันนี้อาจารย์ ให้คัด ก- ฮ และทบทวนเนื้อหาของอาทิตย์ที่แล้ว 



กิจกรรม

วาดมือตนเอง
 


การไหลของน้ำ


การนำไปประยุกต์ใช้
 - สามารถนำไปสอนเด็กๆ ได้
 - สามารถนำไปปรับแก้ไขให้ดีขึ้น
 
 
 
การประเมินผล
ประเมินตนเอง ตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบายและจดตาม 
ประะเมินเพื่อน เพื่อนตั้งใจฟังที่อาจารย์สอน  
ประเมินอาจารย์  อาจารย์สอนตรงเวลา ตั้งใจในการสอน  



  


บันทึกการเรียนครั้งที่  6
วันอังคาร ที่ 13  กัยยายน 2559  เวลา 08.30 - 12.30 น.
 
 
 
ไม่ได้มาเรียน  
 
 

วันพุธที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2559



บันทึกการเรียนครั้งที่ 5
วันอังคาร ที่ 6 กันยายน 2559  เวลา 08.30 - 12.30 น.


 เนื้อหาที่เรียน
   วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาดูวีดิโอเกี่ยวกับอากาศ เช่น 
 - แก้วน้ำที่มีน้ำอยู่เต้มแก้วและเอากระดาษมาปิดปากแก้วแล้วคว่ำแก้ว น้ำก็ไม่ไหลลงมาและแก้วก็ไม่เปียก 
 - เอาดินน้ำมันมาปิดฝาขวด แล้วใส่น้ำ จะใส่ได้ช้า อากาศในขวด ออกได้เติม แต่ปิดดินน้ำมันอากาศออกไม่ได้  


พอดูจบแจกกระดาษคัด ก - ฮ จากนั้นอาจารยืให้ไปดูการจัดกิจกรรม

ของรุ่นพี่ปี 5 ใต้ตึก นวัฒกรรม




การนำไปประยุกต์ใช้

  - สามารถนำเรื่องอากาศไปสอนเด็ก ๆ ได้ ค้ะ




การประเมิน

ประเมินตนเอง 

   วันนี้ไม่ได้ทำของประดิษฐ์ไปเพราะไม่รู้ค่ะ แต่ตั้งใจฟังที่เพื่อนๆ

อธิบายเกี่ยวกับของเล่นตนเอง



ประเมินเพื่อน

  เพื่อนตั้งใจอธิบายเกี่ยวกับของเล่นตนเองที่เตรียมมา


ประเมินอาจารย์

  อาจารย์เป็นคนใจดี มีตั้งใจในการสอน









สรุปงานวิจัย

  การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาระดับความสามารถในการวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยเปรียบเทียบความสามารถในการวิเคราะห์ของเด็กปบมวัยก่อนและหลังได้รับกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน


             กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา นักเรียนชาย - หญิง ที่มีอายุ 
5 - 6  ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 3  ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม  ดดยจับฉลากชั้นอนุบาลปีที่ 3 มา 1 ห้องเรียน จำนวน 30 คน เพื่อกิจกรรมกระบวนการเรียนวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน ใช้เวลาในการทดสอบ 8 สัปดาห์ 

    เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้  คือ แผนการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาตร์นอกห้องเรียนมีค่าความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 และ
แบบทดสอบความสามารถในการวิเคราะห์สำหรับเด็กปบมวัย


สรุปผลงานวิจัย
 1. เด็กปบมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวทยาศาสตร์มีระดับความสามารถในการวิเคราะห์สูงขึ้น 
 2. มีความสามารถในการวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยหลังได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน